By ji_s, 19 August, 2019 หลักสูตร กู้ชีพองค์รวม (comprehensive life support) สำหรับประชาชนทั่วไป 2019 หลักสูตร กู้ชีพองค์รวม สำหรับประชาชนทั่วไป 2019 (1 วัน ) เวลา หัวข้อ Tags comprehensive life support วิชาการ
By banana057, 1 August, 2016 Quiz: การปฐมพยาบาลสำหรับบุคลลทั่วไป แบบทดสอบพร้อมเฉลย: ทดสอบความรู้การปฐมพยาบาล Tags วิชาการ
By Kanok, 25 March, 2016 ร้อน จะ ตาย อากาศเมืองไทยถึงจะมีลมหนาวลมฝนพัดมาบ้างประปราย แต่ส่วนใหญ่ก็เห็นตรงกันว่า มีแต่ร้อนมากกับร้อนน้อย แถมเป็นแบบร้อนชื้นที่เหงื่อไม่ค่อยระเหย ตอนร้อนมากก็ไม่ธรรมดา เล่นเอาเหงื่อท่วม เพลียจัด บางคนเป็นลม ชัก เพี้ยนไปเลยก็มี และถ้าเป็นหนักรักษาไม่ทันก็ถึงตายได้เลย!! Tags วิชาการ
By ji_s, 12 November, 2015 สรุปเนื้อหาความเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการช่วยชีวิต CPR 2015 สรุปเนื้อหาแนวทางการช่วยชีวิตตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ปี 2015 (CPR 2015) ที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลควรรู้ เพื่อนำไปใช้ในการช่วยเหลือผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล
By Kanok, 23 August, 2015 Ambulance Diversion Ambulance diversion ได้ถูกนิยามไว้หลากหลาย โดยทั่วไปหมายถึงการที่ห้องฉุกเฉินปฏิเสธรถพยาบาลที่จะนำผู้ป่วยมาส่งในช่วงเวลาที่มีจำนวนผู้ป่วยมากเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล ถือเป็นมาตรการ "ชั่วคราว" ที่ถูกนำมาใช้แก้ปัญหาผู้ป่วยล้นห้องฉุกเฉิน (emergency department (ED) crowding) โดยเชื่อว่าจะทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาเร็วขึ้น (จากสถานพยาบาลอื่นที่มีความพร้อม) เป็นผลให้ลดอัตราการตายและการเกิดภาวะทุพพลภาพได้ Tags ambulance emergency department วิชาการ
By ubon, 27 September, 2009 ทำงานกู้ชีพอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ เป็นที่ทราบโดยทั่วกันว่าผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ จะมีโอกาสรอดชีวิตหรือลดภาวะแทรกซ้อน จำเป็นต้องมีการช่วยเหลือที่รวดเร็ว ถูกต้อง เหมาะสม ตั้งแต่จุดเกิดเหตุ ขณะเคลื่อนย้ายลำเลียง จนถึงการนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม คือมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยเหล่านั้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวระบบการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล หรือระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMSS : EMERGENCY MEDICAL SERVICES SYSTEM) จึงเป็นหนึ่งในนโยบายหลักสำคัญของรัฐบาล ที่กำหนดให้มีหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทั่วประเทศไทย โรงพยาบาลต่าง ๆ จึงต้องเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพ Tags วิชาการ EMS system
By phaller, 20 June, 2008 Hyphema: เรื่องใกล้ตาที่ไม่น่าพลาด ภาวะเลือดออกในช่อง Anterior chamber หน้าเลนส์ เป็นอีก ภาวะบาดเจ็บที่พลาดกันได้บ่อย ทั้งการตรวจพบและแนวทางใน การรักษา การตรวจตาผู้บาดเจ็บอยู่ในขั้น Secondary survey (ใน Primary survey ดูแค่ pupil) เมื่อผู้บาดเจ็บอยู่ในท่ายืนหรือนั่ง จะเห็นเป็นระดับของเลือดจากการตกลงสู่เบื้องล่างของเม็ดเลือด แต่หากตรวจในท่านอนหงาย จะไม่เห็นระดับดังกล่าว ถ้ามีเลือด ออกไม่มาก อาจทำให้พลาดได้ง่าย จึงต้องอาศัยความช่างสังเกต,ช่างสงสัยของผู้ประเมิน แนวทางในการรักษา แยกออกตามกลไกการบาดเจ็บเป็น Tags ophthalmology trauma วิชาการ
By phaller, 20 June, 2008 Hypertensive Emergencies: ยาที่ใช้ลดความดันในภาวะต่าง ๆ ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงร่วมกับ Acute end organ ischemia (ระบบการไหลเวียนโลหิต, ไต และระบบประสาท) ซึ่ง ควรรักษาโดยลดความดันโลหิตลงใน 1 ชั่วโมง โดยในแต่ละภาวะ มีเป้าหมายและการเลือกใช้ยาที่แตกต่างกัน เช่น 1. Hypertensive encephalopathy เน้นที่เป็นเร็วและดีขึ้นได้ หลังการรักษา ซึ่งอาจมาด้วยปวดศีรษะ, สับสน, คลื่นไส้ อาเจียน, ชัก, ซึมลงจนถึงหมดสติได้ การรักษา เน้นลด MAP* ลง 25% (มักไม่ให้ MAP < 100 mmHg), หลีกเลี่ยงยาที่ควบคุมการลดความดันไม่ได้ เช่น Nifedi- pine Sublingual มักให้ Nitroglycerin IV drip Tags cardiology วิชาการ
By phaller, 20 June, 2008 Foreign body (FB): ปัญหากวนใจ ในกรณีของ FB เข้าหูต้องแยกว่าเป็นแมลงหรือไม่ ถ้าใช่ต้อง แยกอีกว่ามีชีวิตหรือตายแล้ว ถ้ายังมีชีวิตควรฆ่าให้ตายเพื่อลด ความเจ็บปวดที่เกิดจากกิจกรรมของแมลง (ไม่ว่าจะกัดหรือดิ้น) โดยแต่เดิมแนะนำให้ใช้น้ำมันมะกอกหยอดหู (หายากครับจะ เปลี่ยนเป็นน้ำมันหมู, น้ำมันปาล์ม หรือไบโอดีเซลก็ไม่ได้) จึงแนะใหม่ให้ใช้ยาชาแทน จะเป็น Xylocaine ที่ใช้ฉีดตอนเย็บแผล หรือ ยาชาที่ใช้หยอดตาก็ได้ครับ งานนี้นอกจากไม่เหนียวเหนอะหนะ แล้ว ยังช่วยลดอาการปวดได้อีกด้วย Tags วิชาการ
By phaller, 20 June, 2008 Fluid resuscitation: ได้เวลาเปลี่ยน!! เรื่องที่เรียนแล้ว รู้แล้ว แต่ในทางปฏิบัติยังทำกันได้ไม่พอซักที ถ้าถามว่า ภาวะอะไรที่ต้องการสารน้ำจำนวนมาก คงตอบ เสียงเดียวกันว่า shock ไม่ว่าจะเกิดจากผู้บาดเจ็บ ซึ่งควรคิดถึง สาเหตุจากการเสียเลือดทั้งภายนอกและภายใน ที่นำมาซึ่ง Hypovolemic หรือ Hemorrhagic shock ก่อนเสมอ แล้วหา สาเหตุว่าเกิดจากที่ใดเพื่อแก้ไข ในขณะที่ผู้ป่วยที่มีประวัติเสียน้ำ ชัดเจนอย่างคลื่นไส้ อาเจียนมาก ทานอาหารไม่ได้, ถ่ายเหลว จากอาหารเป็นพิษ, DKA ที่มีน้ำตาลสูง ปัสสาวะบ่อย อาเจียน ออกมาก, ซึมไม่รู้สึกตัวจาก Hypercalcemia, peritonitis เป็นต้น ภาวะเหล่านี้ต้องให้สารน้ำเร็ว ๆ โดยเลือก Isotonic solution เช่น Normal Tags critical care วิชาการ