Skip to main content
Home
ศูนย์กู้ชีพ"นเรนทร" โรงพยาบาลราชวิถี

Main navigation

  • Home
  • Hero on the Road
  • เกี่ยวกับศูนย์กู้ชีพ "นเรนทร" โรงพยาบาลราชวิถี
  • Emergency medicine review
  • เนื้อหาวิชาการ
  • การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
User account menu
  • Log in

Breadcrumb

  1. Home

cardiology

  • Reset your password
By phaller, 20 June, 2008

Hypertensive Emergencies: ยาที่ใช้ลดความดันในภาวะต่าง ๆ

ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงร่วมกับ Acute end organ ischemia (ระบบการไหลเวียนโลหิต,​ ไต และระบบประสาท) ซึ่ง ควรรักษาโดยลดความดันโลหิตลงใน 1 ชั่วโมง โดยในแต่ละภาวะ มีเป้าหมายและการเลือกใช้ยาที่แตกต่างกัน เช่น

1. Hypertensive encephalopathy เน้นที่เป็นเร็วและดีขึ้นได้ หลังการรักษา ซึ่งอาจมาด้วยปวดศีรษะ, สับสน,​ ​คลื่นไส้ อาเจียน,​ ชัก,​ ซึมลงจนถึงหมดสติได้

การรักษา เน้นลด MAP* ลง 25% (มักไม่ให้ MAP < 100 mmHg),​ หลีกเลี่ยงยาที่ควบคุมการลดความดันไม่ได้ เช่น Nifedi- pine Sublingual มักให้ Nitroglycerin IV drip

Tags

  • cardiology
  • วิชาการ
By phaller, 3 May, 2008

Adenosine: ยาที่ทำให้หัวใจคนฉีด เต้นแรง!!

Adenosine เป็นยาอีกตัวหนึ่งที่มีความจำเพาะตัวค่อนข้าง สูง ประเภทมาเร็วต้องไล่ไปให้เร็วเพราะครึ่งชีวิตของยา (half life) สั้นมากเหลือเกินในร่างกายคน การฉีดยาตัวนี้จึงต้องเน้นเป็นพิเศษว่าต้องเร็ว เร็วมาก และ ผลที่ได้ก็ทันใจ อยู่ไม่นาน คนไข้หลายคนเล่าว่า รู้สึกเหมือนตก ตึกสูง,​ลงรถไฟเหาะ, เหมือนหล่นลงมาแล้วมีใครปิดไฟ (มันมืด) หวิว ๆ ถ้าดูจากจอ monitor จะเห็นเป็น asystole เป็นช่วงสั้น ๆ ได้เลย จนพยาบาล แพทย์บางคนรู้สึกเสียว ไม่กล้าใช้ แต่อย่างไรก็ตาม ยานี้ก็เป็นยาตัวแรกที่แนะนำให้ใช้ในภาวะ Stable Narrow complex Regular tachycardia เช่น Supraventricular tachycardia (SVT) ด้วยความที่ออ

Tags

  • cardiology
  • วิชาการ
By sandwhale056, 24 November, 2007

Acute Atrial fibrillation and Digoxin

Acute A. fib. and Digoxin

Q:ชายอายุ 44 ปี มาด้วย CHF จากนั้น EKG เปลี่ยนเป็น Atrial fibrillation with RVR (Rapid Ventricular Rate) of 160 to 180 beats per minute. ท่านเป็นแพทย์ผู้ดูแล ได้สั่ง Digoxin 0.­25 mg IV ฉีดให้ แต่หลังจากผ่านไป 15 นาที อาการไม่ดีขึ้น...ท่านจะ....?

Tags

  • cardiology
  • วิชาการ
By doctor_apple, 14 November, 2007

คลื่นหัวใจพื้นฐานสำหรับเวชกรฉุกเฉิน

คลื่นหัวใจพื้นฐานสำหรับเวชกรฉุกเฉิน

(Basic EKG for EMT)

วัตถุประสงค์

เข้าใจความหมายของคลื่นหัวใจ
สามารถอ่านคลื่นหัวใจที่ปกติได้
สามารถอ่านคลื่นหัวใจผิดปกติที่ต้องรีบรักษาได้

- หัวใจเต้นผิดจังหวะ (เร็วเกินไป, ช้าเกินไป, ไม่สม่ำเสมอ)

- กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

-หัวใจหยุดเต้น

4.เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนการกู้ชีพหัวใจขั้นสูงต่อไป (ACLS : Advanced Cardiac Life Support)

Tags

  • cardiology
  • วิชาการ
cardiology

EM Review slideshow

Rapid Sequence Intubation
Heat stroke review
Previous Pause Next

User menu

  • Log in
RSS feed

ศูนย์กู้ชีพ "นเรนทร" โรงพยาบาลราชวิถี

เลขที่ 2 อาคารศูนย์กู้ชีพนเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

ติดต่อเรา

Powered by Drupal