ambulance

Ambulance Diversion

Ambulance diversion ได้ถูกนิยามไว้หลากหลาย โดยทั่วไปหมายถึงการที่ห้องฉุกเฉินปฏิเสธรถพยาบาลที่จะนำผู้ป่วยมาส่งในช่วงเวลาที่มีจำนวนผู้ป่วยมากเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล  ถือเป็นมาตรการ "ชั่วคราว" ที่ถูกนำมาใช้แก้ปัญหาผู้ป่วยล้นห้องฉุกเฉิน (emergency department (ED) crowding)  โดยเชื่อว่าจะทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาเร็วขึ้น (จากสถานพยาบาลอื่นที่มีความพร้อม) เป็นผลให้ลดอัตราการตายและการเกิดภาวะทุพพลภาพได้

รถพยาบาลฉุกเฉินขั้นสูง (Advanced Life Support Ambulance)

เป็นที่รู้จักในชื่อ รถกู้ชีพ”นเรนทร” เตรียมพร้อมออกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีวัตถุประสงค์ออกปฏิบัติการ พร้อมอุปกรณ์การแพทย์ เพื่อประเมิน ช่วยชีวิต และให้การรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินตั้งแต่ในที่เกิดเหตุ และนำส่งโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาต่อ

บุคลากรประจำรถกู้ชีพ ประกอบไปด้วย

  1. แพทย์กู้ชีพ 1 นาย

  2. พยาบาลกู้ชีพ 1 นาย

  3. เจ้าหน้าที่กู้ชีพ 2 นาย

Ground transport "การเคลื่อนย้ายภาคพื้นดิน"

Ground Transport การเคลื่อนย้ายภาคพื้นดิน

“Ambulance”

“รถพยาบาล”

จุดประสงค์

ทราบประวัติศาสตร์และพัฒนาการของรถพยาบาล

อธิบายพัฒนาการของการฝึกอบรมบุคลากรและการกำหนดอุปกรณ์ในรถพยาบาลได้

อธิบายการใช้ Response time และ การจัดการระบบ เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได้
รถพยาบาลเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ที่แสดงถึงเป้าหมายของหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน คือ การช่วยเหลือบุคคลที่ต้องการการดูแลทางการแพทย์ในเวลาที่เหมาะสม ทั้งผู้ป่วยอุบัติเหตุ และผู้ป่วยโรคทางกาย

Subscribe to RSS - ambulance

Navigation