Submitted by patiputt on Thu, 12/27/2007 - 12:03
Ground Transport การเคลื่อนย้ายภาคพื้นดิน
“Ambulance”
“รถพยาบาล”
จุดประสงค์
ทราบประวัติศาสตร์และพัฒนาการของรถพยาบาล
อธิบายพัฒนาการของการฝึกอบรมบุคลากรและการกำหนดอุปกรณ์ในรถพยาบาลได้
อธิบายการใช้ Response time และ การจัดการระบบ เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได้
รถพยาบาลเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ที่แสดงถึงเป้าหมายของหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน คือ การช่วยเหลือบุคคลที่ต้องการการดูแลทางการแพทย์ในเวลาที่เหมาะสม ทั้งผู้ป่วยอุบัติเหตุ และผู้ป่วยโรคทางกาย
Submitted by patiputt on Thu, 12/13/2007 - 11:58
กายวิภาค
ความแรงกับการบาดเจ็บ
สิ่งที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ มีความสัมพันธ์กับแรงที่กระทำต่ออวัยวะนั้นๆ แรงยิ่งมาก ยิ่งทำให้เกิดการบาดเจ็บที่รุนแรงขึ้น และกินวงกว้างขึ้น
การประเมินเบื้องต้น
AMPLE :
อายุ
ประวัติการใช้ยา
ประวัติอดีต
อาหารมื้อสุดท้าย
เหตุการณ์การบาดเจ็บ
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอก อาจเจ็บมากขึ้นเวลาหายใจ หรือขยับตัว
อาจมีอาการหายใจตื้น หายใจสั้นๆ
ในบางรายที่ช็อค อาจมีอาการมึนงงศีรษะ สับสนได้
Submitted by sandwhale056 on Sat, 11/24/2007 - 06:06
Q;What is the physiologic amount of cortisol secreted by adrenals per day?
A;Adults secrete about 20 mg of cortisol daily.
Submitted by sandwhale056 on Sat, 11/24/2007 - 05:58
Acute A. fib. and Digoxin
Q:ชายอายุ 44 ปี มาด้วย CHF จากนั้น EKG เปลี่ยนเป็น Atrial fibrillation with RVR (Rapid Ventricular Rate) of 160 to 180 beats per minute. ท่านเป็นแพทย์ผู้ดูแล ได้สั่ง Digoxin 0.25 mg IV ฉีดให้ แต่หลังจากผ่านไป 15 นาที อาการไม่ดีขึ้น...ท่านจะ....?
Submitted by sandwhale056 on Fri, 11/23/2007 - 01:05
Nasogastric tube syndrome
Q :หญิง 65 ปี ประมาณ 9 วันก่อนมีปัญหา small bowel obstruction. ได้ on NG tube ไว้
อาการโดยรวมทั่วไปดีขึ้นไม่มีท้องอืด รับ feed เริ่มได้ ถูกนำส่ง ER วันนี้ด้วยอาการรู้สึกสะอึกคล้ายจะสำลัก (choking sensation) ผุ้ป่วยใช้มือทั้งสองข้างจับบริเวณคอตลอดเวลา ท่านทำการตรวจร่างกาย และ Monitor O2 sat แล้วพบว่า sat drop. ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือโดยการใส่ ETT ทันที ขณะใส่ไม่พบความผิดปกติ ได้แก่ laryngeal or vocal cord edema แต่พบว่ามี vocal cord paralysis ไป
Submitted by banana057 on Sun, 11/18/2007 - 17:41
แผนกฉุกเฉิน และบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Department and EMS)
Emergency department
– เป็นทางแรกที่รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
– เป็นสถานที่สำหรับ ambulatory care
– รับผู้ป่วยทุกอายุ และหลากหลายรูปแบบ โดยไม่สามารถเลือกได้ ตลอด 24 ชั่วโมง
– ผู้ป่วยส่วนหนึ่งได้มาจากระบบ EMS
ED and EMS มีหลายส่วนที่เหมือนกัน และให้การสนับสนุนซึ่งกันและกันในการดูแลผู้ป่วย
การเข้าใจถึงระบบ ER จะเพิ่มความเข้าใจถึงระบบ EMS มากขึ้น
– Organization and categorization
– Various ED designations
– Role of physicians
Submitted by doctor_apple on Wed, 11/14/2007 - 23:34
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS system)
“ตามวาระระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพื่ออนาคต”(EMS Agenda for the Future)
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS system)
หมายถึง ระบบที่มีการจัดวางอย่างเป็นระเบียบ (organized) ครอบคลุม (integrated)
เป็นไปเพื่อให้ความช่วยเหลือภาวะเร่งด่วนทางการแพทย์สำหรับบุคคลแต่ละคน เพื่อเข้าถึง (assess)
และเข้าสู่ (enter) ระบบการให้การดูแลสุขภาพในระยะเวลาอันรวดเร็ว
องค์ประกอบของระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
Submitted by doctor_apple on Wed, 11/14/2007 - 23:14
คลื่นหัวใจพื้นฐานสำหรับเวชกรฉุกเฉิน
(Basic EKG for EMT)
วัตถุประสงค์
เข้าใจความหมายของคลื่นหัวใจ
สามารถอ่านคลื่นหัวใจที่ปกติได้
สามารถอ่านคลื่นหัวใจผิดปกติที่ต้องรีบรักษาได้
- หัวใจเต้นผิดจังหวะ (เร็วเกินไป, ช้าเกินไป, ไม่สม่ำเสมอ)
- กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
-หัวใจหยุดเต้น
4.เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนการกู้ชีพหัวใจขั้นสูงต่อไป (ACLS : Advanced Cardiac Life Support)
ในส่วนของ prehospital care แนะนำให้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษดังนี้ ครับ
- หลักการดูแลแบ่งออกเป็น 6 step ดังนี้ครับ
1. การช่วยเหลือชีวิตเบื้องต้น (Basic life support) เน้นเรื่องของ A , B และ C
2. การประเมินผู้ป่วย รวมทั้งการซักประวัติ , การตรวจร่างกาย โดยเฉพาะ ส่วนของ vital sign , อาการและอาการแสดงที่เข้ากับสารพิษกลุ่มต่าง ๆ (หรือที่เรียกว่า Toxidrome) ครับ
ทราบหรือไม่ ว่าการ management ทาง toxico ที่ทำ ๆ กันอยู่ ยังไม่มีรายงานหรือการศึกษาสนับสนุน ซะส่วนมาก (ส่วนมากจะ controversy หรือพิสูจน์แล้วก็ยังไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ) ตัวอย่างเช่น
Pages