CPR

CPR: ปัญหาอยู่ที่ใด?

จุดประเด็นเน้นย้ำในการทำ CPR ที่ควรรู้ คือ

1. การเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี Head tilt, Chin lift หรือ Chin lift, Jawthrust maneuver (กรณีสงสัย C spine injury) ร่วมกับใช้ Ambu bag บีบเพื่อ Ventilate ผู้ป่วยได้ ถือว่าขั้น A, B ใน ACLS ผ่านแล้วไม่จำเป็น จะต้องวิ่ง เตรียมอุปกรณ์ใส่ท่อช่วยหายใจและใส่ ET tube ให้ได้เป็น ลำดับแรกจึงจะถือว่าผ่าน A เหมือนอย่างที่ทำ ๆ กัน

Chain of survival: หลักฐานที่ทำให้คนไข้รอดชีวิต

วงแหวนหรือห่วงโซ่รอดชีวิตที่ถูกพูดถึงใน ACLS AHA 2005 ประกอบด้วยกระบวนการ 4 ขั้นตอน ที่จะช่วยผู้ป่วย Cardiac arrest รอดฟื้นคืนชีพจากการทำ CPR มีดังนี้

1. Early access เมื่อพบผู้ป่วย ให้ทำการประเมินแล้วติดต่อ ขอความช่วยเหลือ เพื่อรออุปกรณ์ช่วยกู้ชีพขั้นสูงต่อไป (รอขั้นตอนที่ 4) ซึ่งในเมืองไทยคือ ติดต่อหมายเลข 1669 เรียกรถพยาบาลในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

2. Early CPR ช่วยเหลือโดยการทำ Basic life support อย่างถูกวิธี เน้นที่เริ่มทำ CPR ในช่วง 4 นาทีแรก

Basic life support: บทสรุป

หัวใจของการทำ Advance cardiac life support คือการทำ Basic life support (BLS) ให้ดี ถ้าเราลองสรุปหลักง่าย ๆ (เคล็ด วิชา) ของ BLS คือ “ประเมินก่อนปฏิบัติเรียงเป็นลำดับ” ดังนี้

ประเมิน ผล ปฏิบัติ

ความรู้สึกตัว ไม่รู้สึกตัว เรียกขอความช่วยเหลือ

ทางเดินหายใจ การอุดกั้น เปิดทางเดินหายใจ

การหายใจ ไม่หายใจ ช่วยการหายใจ

คลำชีพจรที่ต้นคอ ไม่ได้ชีพจร กดหน้าอก

แต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้

วีดีโอการเหตุ CPR และการใช้ AED ผู้หมดสติจากการจมน้ำ

วีดีโอเหตุการณ์จริง ขณะกำลังถ่ายทำสารคดี Life Guard หาด Bondi Beach (อ่านว่าบอนไดนะ ไม่ใช่บอนดี้) ออสเตรเลีย ซึ่งแสดงให้เห็นเหตุผู้ป่วยจมน้ำที่หาดดังกล่าว บรรดาหนุ่มๆ Life Guard ได้เข้าไปช่วยด้วยการ CPR มีการประสานงานขอสนับสนุนจากหน่วยกู้ชีพระดับสูงกว่า และมีการใช้เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติ (AED) จนผู้ป่วยกลับมามีชีพจร และหายใจได้เอง

Tags:

เราควรสนับสนุนการใช้เครื่องกระตุกหัวใจ AED หรือไม่?

เราควรสนับสนุนการใช้เครื่องกระตุกหัวใจ AED หรือไม่

AED ประจำสถานีรถไฟในญี่ปุ่น

Tags:

เศษกระดาษในมือลุง

ขณะกำลังรับเวรบ่ายวันหนึ่งในห้องฉุกเฉิน ฉันพบชายวัยประมาณ 60 ปี กำลังนอนทอดกายไม่ได้สติอยู่บนเปลนอนในมุมสังเกตอาการของห้องฉุกเฉินเพื่อรอเตียงนอนในโรงพยาบาลด้วยปัญหาเตียงเต็มซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่พบในเกือบทุกโรงพยาบาลใหญ่ๆของรัฐในเขตตัวเมือง เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่มีมากกว่าจำนวนเตียงที่สามารถรองรับได้ ทราบจากเวรเช้ามาว่าลุงมารับบริการที่ห้องฉุกเฉินตั้งแต่เช้าด้วยอาการปวดศีรษะมากขึ้นมา1สัปดาห์ ตอนแรกยังตื่นรู้ตัวดี สามารถพูดคุยถึงอาการต่างๆได้ แต่ในขณะนี้อาการแย่ลง เรียกไม่ได้สติ ฉันจึงให้น้องนักศึกษาแพทย์ปีหกช่วยเข็นลุงเข้าห้องดูแลผู้ป่วยหนัก ( resuscitation room) เพื่อเตรียมใส่ท่อช่วยหายใจท

Pages

Subscribe to RSS - CPR

Navigation