Blogs

มัจจุราชยามรัตติกาล

โดย อริยตารา

พลวัตร ทำงานเป็นพนักงานขับรถฉุกเฉินที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งใจกลางกรุงเทพมหานคร เขามีความตั้งใจในการทำงานเป็นอย่างยิ่งและยังเป็นที่รักของผู้ร่วมงานทุกๆคน เพราะพลวัตร หรือ "วัตร" ซึ่งเป็นชื่อเล่นที่เพื่อนๆเรียกกันเป็นปกติคนนี้ เป็นคนที่สนุกสนาน เฮฮา ปาจิงโกะ ได้ตลอดเวลา เขาไม่เคยแสดงออกถึงความก้าวร้าว หรือเกรี้ยวกราดให้ใครเห็น แถมยังชอบหยอกล้อ และแซวเพื่อนๆจนขำกลิ้งอยู่เสมอ

Tags:

จากใจกู้ชีพ

“รถพี่.. ใช่คันที่ติดสติ๊กเกอร์อาสาด้านหลังหรือเปล่าครับ ?”

การพัฒนาไปอีกขั้นของระบบรับแจ้งเหตุ 911 (Next Generation 9-1-1)

ในหนังหรือภาพยนตร์ฝรั่ง เราๆ ท่านๆ คงอาจจะเคยได้ยินบทของนักแสดงที่ทำหน้าถมึงทึง ร้องลั่นด้วยเสียงอันดังให้ขอความช่วยเหลือทางโทรศัพท์เมื่อประสบหรือพบเหตุ ฉุกเฉินที่หมายเลข 9-1-1 กันมาบ้างไม่มากก็น้อย เจ้าระบบ 9-1-1 ได้นำมาใช้เป็นหมายเลขกลางในการแจ้งเหตุฉุกเฉินทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเจ็บป่วยฉุกเฉิน ไฟไหม้ อาชญากรรมที่กำลังดำเนินอยู่ ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดาในปัจจุบัน เมื่อมีการโทรแจ้งเหตุที่หมายเลขนี้ โทรศัพท์ของท่านจะไปติดที่ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน ซึ่งเรียกว่า Public Safety Answering Point (PSAP) โดยที่แต่ละเมืองจะใช้หน่วยงานทำหน้าที่นี้แตกต่างกัน บางแห่งเป็นตำรวจ บาง

สถานการณ์ แพทย์ฉุกเฉิน ในประเทศไทย

รายงานข่าว สถาทีโทรทัศน์ ThaiPBS ออกอากาศวันที่ 9 ธันวาคม 2552 เรื่อง สถานการณ์ของแพทย์ฉุกเฉิน ในประเทศไทย 

บทกลอน แด่.....อาจารย์สมชาย กาญจนสุต....ผู้บุกเบิกงาน EMS

เนื่องในวาระที่อาจารย์สมชาย กาญจนสุต เกษียณอายุราชการ ในเดือนกันยายน 2552 ที่ผ่านมา ผู้เขียนจึงขอมุทิตาจิตด้วยบทกลอนด้านล่างนี้ค่ะ

เวียดนามวันนี้…อยู่ในสิ่งที่มี...และทำในสิ่งที่เป็น...อย่างมุ่งมั่น

เดือนพฤศจิกายน 2552 นี้ เป็นเดือนแห่งการครบรอบ 1 ปี ที่ผู้เขียนได้เดินทางไปเวียดนาม ผู้เขียนจึงอยากจะย้อนรอยเล่าเรื่องราวในอดีต เพื่อรำลึกถึงความรู้สึก ความประทับใจ และอีกหลายๆอย่างที่ได้เจอะเจอมา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้สึกที่รับรู้ได้ว่า เวลา 1 ปีนั้น รวดเร็วยิ่งนัก ทำให้ผู้เขียนต้องเตือนตัวเองว่า ยังมีงานอะไรอีกบ้าง ที่เราควรจะทำ แต่ยังไม่ได้ทำ เราคงชักช้าอีกไม่ได้แล้ว เพราะเราอาจไม่มีเวลามากนักที่จะเหลือให้เรา และช่วงต่อไปนี้ ลองมาดูซิว่า ประเทศไทยและเวียดนาม มีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้นมาบ้าง ในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา เรามาย้อนเรื่องราวในเวียดนามไปพร้อมๆกั

ทำงานกู้ชีพอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ

เป็นที่ทราบโดยทั่วกันว่าผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ จะมีโอกาสรอดชีวิตหรือลดภาวะแทรกซ้อน จำเป็นต้องมีการช่วยเหลือที่รวดเร็ว ถูกต้อง เหมาะสม ตั้งแต่จุดเกิดเหตุ ขณะเคลื่อนย้ายลำเลียง จนถึงการนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม คือมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยเหล่านั้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวระบบการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล หรือระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMSS : EMERGENCY MEDICAL SERVICES SYSTEM) จึงเป็นหนึ่งในนโยบายหลักสำคัญของรัฐบาล ที่กำหนดให้มีหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทั่วประเทศไทย โรงพยาบาลต่าง ๆ จึงต้องเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพ

วันวานยังหวานอยู่

เมื่อท่านอ่านชื่อบทความนี้ โปรดอย่าได้คิดว่าเป็นรายการโทรทัศน์หรือภาพยนต์ ที่กำลังฮิตอยู่ในขณะนี้เสียล่ะ แต่จริง ๆ แล้วมันคือความทรงจำดี ๆ ตลอดระยะเวลา 16 ปี ของฉันที่ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉินของ โรงพยาบาลราชวิถี (ซึ่งปัจจุบันฉันได้รับมอบหมายให้มารับผิดชอบงาน EMS ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2540 เป็นต้นมา) แต่ความทรงจำทุกอย่างยังคงกระจ่างชัดตลอดเวลาที่นึกถึง ยิ่งเมื่อได้ยินเพลง 16 ปีแห่งความหลัง และเพลงวันวานยังหวานอยู่ (อย่าว่าเป็นลิเกนะ แต่มันเป็นความจริง) ความทรงจำเหล่านี้จะย้อนกลับมาทุกครั้ง

Pages

Subscribe to RSS - blogs

Navigation